การเปลี่ยนแปลง

สร้างหน้าด้วย "<big>จระเข้ นาโน กลอสซี่</big> ไฟล์:จระเข้-นาโน-กลอสซี่.jpg|thumb|จระ..."
<big>จระเข้ นาโน กลอสซี่</big>
[[ไฟล์:จระเข้-นาโน-กลอสซี่.jpg|thumb|จระเข้ นาโน กลอสซี่]]

== รายละเอียด ==
* น้ำยาเคลือบผิว ชนิดอะคริลิค สูตรน้ำ
* เนื้อฟิล์มแกร่ง ทนUVป้องกันรอยขีดข่วน
* เพิ่มความเข้มของสีให้เด่นชัด
* ลดการเกิดเชื้อรา และตะไคร่น้ำ
* ไม่มีสารพิษและสารละเหย
* 1 ลิตร / 4-8 ตร.ม.

== ขนาดบรรจุ ==
1 ลิตร , 3.75 ลิตร, ถัง 20 ลิตร

== ลักษณะการใช้งาน ==
สำหรับเคลือบเงา วัสดุที่มีการดูดซึมน้ำต่ำ เช่น คอนกรีต อิฐบล็อก ปูนฉาบ ผนังฉาบสกิมโค้ท หินทรายล้าง หินกาบ และหินธรรมชาติ

== คุณสมบัติเด่น ==
* เป็นของเหลวสีขาวขุ่น เมื่อแห้งจะโปร่งใส
* โครงสร้างโมเลกุลขนาดเล็ก แทรกซึมลงในผิวพร้อมเคลือบ
* ทาเคลือบผิวให้เกิดความเงางาม ไม่จับฝุ่น
* เร่งสีที่ด้านให้เข้มเด่นชัดขึ้น หรือเข้มขึ้น
* ทนต่อรังสี UV และความชื้นภายนอก อันเป็นสาเหตุของการก่อเกิดเชื้อราและตะใคร่น้ำ
* ให้เนื้อฟิล์มแกร่ง เรียบแน่น ป้องกันคราบสกปรกได้ดี ทนการขัดสี
* ป้องกันการเกิดคราบขาว
* ทาบนคอนกรีตได้โดยไม่ต้องรองพื้น
* สูตรน้ำ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่มีสารระเหย

== อัตราการใช้งาน ==
1 ลิตร ต่อ 4 – 8 ตร.ม. ขึ้นอยู่กับความพรุนของพื้นผิว

== การใช้งาน ==
* ทำความสะอาดพื้นผิว ให้สะอาด ปราศจากฝุ่น คราบไขมัน สิ่งสกปรก ออกก่อน และพื้นผิวควรมีสภาพแห้ง
* พื้นผิวคอนกรีตเก่าที่มีการทาหรือเคลือบวัสดุใดๆ ไว้ ควรขัด หรือลอกฟิล์มเก่าที่เสื่อมสภาพออกให้หมด
* พื้นผิวที่ทา สีจระเข้ คัลเลอร์ ซีเมนต์ สามารถทาเคลือบได้หลังจากทาสีแล้ว 7 วัน
* ทาน้ำยา ลงบนพื้นผิว โดยใช้ แปรง หรือพ่น 2 เที่ยว โดยหลังจากทารอบแรก ปล่อยให้แห้งประมาณ 30 นาที ก่อนทารอบที่ 2
* สามารถผสมน้ำได้ 5-10% กรณีใช้งานพ่น หรือต้องการลดความเงา (เป็นแบบกึ่งเงา)
* กรณีที่วัสดุเป็นชิ้นงาน หรือแผ่น อาจทาเคลือบทุกด้านเพื่อป้องกันความชื้นจากด้านหลัง
* ปล่อยให้น้ำยาแห้งตัวอย่างน้อย 3 ชั่วโมง ก่อนใช้งาน
* ทดสอบการดูดซึมน้ำ หลังทาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
* ทำความสะอาดเครื่องมือด้วยน้ำเปล่า

== ข้อแนะนำ ==
* ทดสอบกับพื้นที่เล็กๆเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงสีของพื้นผิวก่อนทา
* พื้นผิวที่แน่น ดูดซึมน้ำต่ำมาก เช่น กระเบื้องพอร์ซเลน หรือพื้นผิวที่มีการเคลือบผิวหน้า การทาจระเข้ นาโน โพรเทค อาจไม่เห็นถึงความแตกต่างของผลลัพธ์ เนื่องจากไม่สามารถแทรกซึมเข้าไปในรูพรุนของพื้นผิวได้
* วัสดุประเภท น้ำยาทากันน้ำ Water Repellent เป็นสารช่วยลดการดูดซึมน้ำ ไม่ใช่วัสดุกันซึมเมื่ออยู่ในสภาวะแช่น้ำที่มีแรงดัน

[[หมวดหมู่:เคมีภัณฑ์ก่อสร้าง]]
197
การแก้ไข

รายการเลือกการนำทาง