ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล TOA 201 Roofseal"

จาก Watsadupedia
 
แถว 1: แถว 1:
 
[[ไฟล์:Toa-201-roofseal.jpg|200px]]
 
[[ไฟล์:Toa-201-roofseal.jpg|200px]]
  
[[TH-TOA_201_Roofseal.pdf|TOA 201 Roofseal อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล]]
+
[[ไฟล์:TH-TOA 201 Roofseal.pdf|thumb|TH-TOA_201_Roofseal.pdf]]
 
        
 
        
 
TOA 201 Roofseal อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล
 
TOA 201 Roofseal อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:52, 5 มิถุนายน 2562

Toa-201-roofseal.jpg

ไฟล์:TH-TOA 201 Roofseal.pdf

TOA 201 Roofseal อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล บริเวณที่ใช้ ดาดฟ้า,ระเบียง,รางระบายน้ำ,หลังคาเมทัลชีท หลังคาลอนคู่ ผนังคอนกรีต อัตราการใช้งาน 1 กก./1 ตร.ม.(3รอบ) ขนาดบรรจุ 1,4,20 กก. สี เทา,ขาว,เขียว,น้ำตาล,น้ำเงิน

เคมีภัณฑ์ กันซึม TOA TOA 201 Roofseal อะคริลิคกันซึม ทีโอเอ 201 รูฟซีล เป็นอะครีลิคชนิดยืดหยุ่นคุณภาพสูง ใช้สำหรับทาเคลือบพื้นผิวเพื่อป้องกันการรั่วซึมจากรอยแตกร้าวของคอนกรีตบริเวณต่างๆ เช่น ดาดฟ้า กระเบื้องมุงหลังคาทุกชนิด ระเบียง รางระบายน้ำคอนกรีต ฯลฯ

ดาดฟ้า หลังคา เป็นบริเวณสำคัญที่ช่วยปกป้องบ้าน เนื่องจากเป็นบริเวณที่ต้องรองรับน้ำฝน และแสงแดดโดยตรง ต้องเผชิญกับสภาวะอากาศที่รุนแรง ดังนั่นการดูแลรักษาดาดฟ้า หลังคา ให้อยู่ในสภาพที่ดี จะช่วยป้องกันปัญหารั่วซึม ไม่สร้างความเสียหายต่อ ฝ้า เพดาน เฟอร์นิเจอร์ รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในบ้าน

คุณสมบัติ ระบบกันซึมชนิดไร้รอยต่อ กันน้ำเข้าได้ 100% TOA 201 Roofseal เป็นวัสดุกันซึมประเภทอะครีลิคที่มีความยืดหยุ่นตัวได้สูงถึง 500% ช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหารอยแตกร้าวของคอนกรีตที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้ดี ทนแสงแดด ทนต่อสภาพอากาศที่รุนแรง และรับแรงเสียดสีจากการสัญจรได้ ใช้สำหรับงานกัซึมบริเวณพื้นผิวต่างๆ เช่น ดาดฟ้า หลังคา ระเบียง ผนัง รางระบายน้ำ เป็นต้น สามารถแทรกซึมเข้าสู่รอยแตกร้าวได้ดี ใช้งานกับลูกกลิ้ง แปรงทาสีและการพ่นได้ ปราศจากสารพิษ ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ระยะเวลาการแห้งตัวและทาทับได้ภายใน 2 – 4 ชั่วโมงที่อุณหภูมิปกติ หลังจากการทาไปแล้ว 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิปกติจึงสามารถใช้งานได้ สาเหตุของปัญหารั่วซึมของหลังคา และดาดฟ้า การเปลี่ยนแปลงของอุณภูมิ ทำให้พื้นคอนกรีตดาดฟ้าแตกร้าว การเทพื้นดาดฟ้า ไม่ได้ระดับ ทำให้เกิดน้ำขังเป็นแอ่ง ระดับความชันของการมุงหลักคา ที่ไม่ได้ระดับ เป็นสาเหตุให้น้ำไหลย้อน ปูนครอบกระเบื้องหลังค่าเสื่อมสภาพ การมุงหลังคาไม่ได้มาตรฐาน ใช้ผลิตภัณฑ์กันซึมผิดประเภท หรือไม่ได้มาตรฐาน การใช้งาน เหมาะสำหรับใช้งานกันซึมในพื้นผิวต่างๆ เช่น ดาดฟ้าคอนกรีต ผนังคอนกรีตและผนังก่ออิฐฉาบปูน ผนังกันดิน รางระบายน้ำคอนกรีต กระเบื้องหลังคาใยหิน หลังคาเหล็ก สังกะสี เป็นต้น

ปริมาณการใช้งาน ประมาณ 0.7 – 0.8 กก. /ตร.ม. (ทา 2 ชั้น) จะได้ความหนาประมาณ 350 – 400 ไมครอนเมื่อแห้ง (0.35 – 0.40มม.)